สถิติ
เปิดเมื่อ13/03/2012
อัพเดท7/12/2012
ผู้เข้าชม281673
แสดงหน้า403794
สินค้า
ปฎิทิน
April 2024
Sun Mon Tue Wed Thu Fri Sat
 
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
28
29
30
    
ปฎิทิน
April 2024
Sun Mon Tue Wed Thu Fri Sat
 
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
28
29
30
    




ฝนตก - รับสัญญาณไม่ค่อยได้

อ่าน 2598 | ตอบ 0

ทำไมฝนตกทุกครั้ง จึงดูรายการจากจานรับสัญญาณดาวเทียมไม่ได้ ? 

 

คำถามเหล่านี้ ยังเป็นคำถามยอดฮิตของผู้ใช้จานรับสัญผญาณดาวเทียมอีกหลายคน ที่คิดว่า จานดาวเทียมฝนตกแล้วดูไม่ได้ (เฉพาะระบบ Ku-Band จ้า) งั้นเรามาดูลักษณะการทำงานหรือการส่งสัญญาณกัน

ข้อเปรียบเทียบระหว่างจานรับดาวเทียมขนาดเล็ก (KU - Band) และจานใหญ่ (C - Band) ระบบการรับสัญญาณทีวีผ่านดาวเทียม ตอนนี้มีอยู่ 2 ย่านความถี่ คือ ย่านความถี่ช่วง C - Band จะส่งความถี่ต่ำกลับมายังพื้นโลกอยู่ในช่วง 3.4 - 4.2 GHz (กิกะเฮิร์ท) ส่งสัญญาณ ครอบคลุมหลายประเทศ จึงทำให้เราสามารถรับชมสัญญาณจากหลาย ๆ ประเทศด้วย ย่านความถี่นี้เหมาะสมกับประเทศที่มีขนาดใหญ่ ๆ เนื่องจากใช้ดาวเทียม เพียงดวงเดียวส่งสัญญาณ ครอบคลุมทั้งประเทศ รวมทั้งประเทศใกล้เคียงด้วย แต่เนื่องด้วยสัญญาณที่ส่งมาครอบคลุม พื้นที่กว้าง ความเข้มของสัญญาณเลยต่ำจึงต้องใช้จานขนาดใหญ่ จึงจะรับสัญญาณได้ดี ย่านความถี่ช่วง Ku - Band จะส่งความถี่กลับมายังพื้นโลกประมาณ 10-12 GHz. ซึ่งเป็นความถี่ที่สูงกว่าย่าน C - Band สัญญาณครอบคลุมพื้นที่น้อย จึงเหมาะสมกับการส่งสัญญาณภายในประเทศ ในเมื่อครอบคลุมพื้นที่น้อยสัญญาณเลยมีความเข้มสูง ใช้จานขนาดเล็ก ๆ ก็สามารถรับสัญญาณได้ แต่ย่าน Ku - Band เป็นย่านความถี่สูงจึงมีปัญหา กับเม็ดฝน ฝุ่น ละอองในอากาศมาก  ดังนั้นเวลาที่ฝนตกสัญญาณจึงไม่สามารถทะลุเม็ดฝนได้ จังไม่สามารถรับสัญญาณจากดาวเทียมบนฟ้าได้ ซึงไม่เกี่ยวก้บหน้าจานใหญ่หรือเล็ก แต่ข้อดีของหน้าจานใหญ่ ก็เพื่อขยายจุดรับชมภายในบ้าน

หลักเกณฑ์การพิจารณาขนาดของจานมีดังนี้

- สัญญาณยิ่งอ่อนจานรับสัญญาณก็ต้องยิ่งมีขนาดใหญ่ขึ้น
- ความถี่ยิ่งเพิ่มขึ้นความยาวคลื่นจะลดลงจานจึงมีขนาดเล็กลง  


ความคิดเห็นของผู้เข้าชม
ชื่อผู้แสดงความคิดเห็น :
สถานะ : รหัสผ่าน :
ลิงค์ที่เกี่ยวข้อง :
รหัสความปลอดภัย :